11.รูปแบบการวิจัย (Research Design)
http://www.thaieditorial.com/tag/%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2/ ได้รวบรวมและกล่าวไว้ว่า
http://5kanlayaporn20.multiply.com/journal/item/91 ได้รวบรวมและกล่าวไว้ว่า
การวิจัยทางการศึกษานั้นสามารถจัดได้หลายแบบแล้วแต่ว่าจะใช้อะไรเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง ซึ่งพอ
- เชิงประวัติศาสตร์
- เชิงบรรยาย
- เชิงทดลอง
2. ใช้จุดมุ่งหมายของงานวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- บริสุทธิ์
- ประยุกต์
- เชิงปฏิบัติการ
3. ใช้ลักษณะและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงปริมาณ
- เชิงคุณภาพ
4. ใช้ลักษณะศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- วิทยาศาสตร์
- สังคมศาสตร์
- มนุษยศาสตร์
5. ใช้วิธีการควบคุมตัวแปรเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงทดลอง
- เชิงกึ่งทดลอง
- เชิงธรรมชาติ
http://www.bestwitted.com/?tag=planning-research-design ได้รวบรวมและกล่าวไว้ว่าการออกแบบการวิจัย (Research design)
เป็นแผนหลักซึ่งกำหนดวิธีการและกระบวนการในการเก็บรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูลที่ผู้วิจัยต้องพิจารณาแหล่งข้อมูล เทคนิคการออกแบบ (การสำรวจหรือการทดลอง) วิธีการสุ่มตัวอย่าง ตารางและต้นทุนของการวิจัย
- เชิงประวัติศาสตร์
- เชิงบรรยาย
- เชิงทดลอง
2. ใช้จุดมุ่งหมายของงานวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- บริสุทธิ์
- ประยุกต์
- เชิงปฏิบัติการ
3. ใช้ลักษณะและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงปริมาณ
- เชิงคุณภาพ
4. ใช้ลักษณะศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- วิทยาศาสตร์
- สังคมศาสตร์
- มนุษยศาสตร์
5. ใช้วิธีการควบคุมตัวแปรเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงทดลอง
- เชิงกึ่งทดลอง
- เชิงธรรมชาติ
เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่17 ธันวาคม 2555
http://www.bestwitted.com/?tag=planning-research-design
เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2555
รูปแบบการวิจัยสามารถจำแนกตามวิธีการดำเนินการวิจัยได้ รูปแบบหลักๆ คือ
1. การวิจัยโดยการทดลอง (Experimental research) หมายถึง การวิจัยที่ผู้วิจัยมีการกำหนดปัจจัยเสี่ยงให้กับตัวอย่างที่นำมาศึกษา แล้วติดตามดูผลที่เกิดขึ้น
2. การวิจัยโดยการสังเกต (Observational research) หมายถึงการวิจัยที่ผู้วิจัยไม่มีการกำหนดปัจจัยเสี่ยงให้กับตัวอย่างที่นำมาศึกษา แต่ในชีวิตประจำวันตัวอย่างที่จะทำการศึกษาได้รับปัจจัยเสี่ยงอยู่แล้ว ดังนั้นผู้วิเคราะห์จึงเป็นแค่เพียงผู้ติดตามและสังเกตดูผลที่เกิดขึ้นเท่านั้น การวิจัยโดยการสังเกตแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิดดังนี้
1. การวิจัยเชิงพรรณนา อาจจำแนกตามลำดับเวลาที่ศึกษาได้ 2 ชนิด คือ
- การวิจัยเชิงพรรณนา ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่งแบบตัดขวาง (Cross-sectional descriptive studies) เป็นการศึกษาระยะสั้นที่จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง
- การวิจัยเชิงพรรณนาระยะยาว (Longitudinal descriptive studies) เป็นการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรที่ผู้วิจัยสนใจศึกษาในช่วงระยะเวลาที่กำหนด
2. การวิจัยโดยการสังเกตเชิงวิเคราะห์ (Observational analytic studies) เป็นการวิจัยโดยการสังเกตที่มีกลุ่มเปรียบเทียบหรือกลุ่มควบคุม การวิจัยโดยการสังเกตเชิงวิเคราะห์อาจจำแนกตามลำดับเวลาที่ศึกษาได้ 3 ชนิด คือ
- การวิจัยเชิงวิเคราะห์แบบไปข้างหน้า (Cohort studies or Prospective studies) เป็นการศึกษาเริ่มจากเหตุไปหาผล โดยกลุ่มที่เปรียบเทียบไม่มีปัจจัยเสี่ยง
- การวิจัยเชิงวิเคราะห์แบบย้อนหลัง (Case-control or Retrospective analytic studies) เป็นการศึกษาเริ่มจากผลไปหาเหตุ โดยกลุ่มที่เปรียบเทียบไม่มีปัญหาที่จะศึกษา
- การวิจัยเชิงวิเคราะห์ ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง (Cross-sectional analytic studies) เป็นการศึกษาทั้งเหตุและผลพร้อมกัน ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง
ประเด็นพิจารณาในการเลือกรูปแบบการวิจัย ได้แก่
-วัตถุประสงค์ของการวิจัยคืออะไร
-ต้องการวัดหรือทดลองอะไร
-มีตัวแปรอะไรบ้างที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
-ระดับของตัวแปรอิสระที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
-ต้องการใช้ข้อมูลชนิดเก็บข้อมูลอย่างไรจึงจะง่าย สะดวก และประหยัด
-ค่าใช้จ่ายที่เหมาะสมในการทำวิจัย
-วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลที่เหมาะสม
การวิจัยทางการศึกษานั้นสามารถจัดได้หลายแบบแล้วแต่ว่าจะใช้อะไรเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง ซึ่งพอ
สรุป ได้ดังนี้
1. ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
1. ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงประวัติศาสตร์
- เชิงบรรยาย
- เชิงทดลอง
2. ใช้จุดมุ่งหมายของงานวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- บริสุทธิ์
- ประยุกต์
- เชิงปฏิบัติการ
3. ใช้ลักษณะและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงปริมาณ
- เชิงคุณภาพ
4. ใช้ลักษณะศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- วิทยาศาสตร์
- สังคมศาสตร์
- มนุษยศาสตร์
5. ใช้วิธีการควบคุมตัวแปรเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงทดลอง
- เชิงกึ่งทดลอง
- เชิงธรรมชาติ
เป็นแผนหลักซึ่งกำหนดวิธีการและกระบวนการในการเก็บรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูลที่ผู้วิจัยต้องพิจารณาแหล่งข้อมูล เทคนิคการออกแบบ (การสำรวจหรือการทดลอง) วิธีการสุ่มตัวอย่าง ตารางและต้นทุนของการวิจัย
สรุป รูปแบบการวิจัย ได้แก่
1. ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงประวัติศาสตร์
- เชิงบรรยาย
- เชิงทดลอง
2. ใช้จุดมุ่งหมายของงานวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- บริสุทธิ์
- ประยุกต์
- เชิงปฏิบัติการ
3. ใช้ลักษณะและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงปริมาณ
- เชิงคุณภาพ
4. ใช้ลักษณะศาสตร์และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- วิทยาศาสตร์
- สังคมศาสตร์
- มนุษยศาสตร์
5. ใช้วิธีการควบคุมตัวแปรเป็นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงทดลอง
- เชิงกึ่งทดลอง
- เชิงธรรมชาติ
อ้างอิง
http://www.thaieditorial.com/tag/%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2/
เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2555
http://5kanlayaporn20.multiply.com/journal/item/91เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2555
เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่17 ธันวาคม 2555
http://www.bestwitted.com/?tag=planning-research-design
เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2555
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น